2552-11-05

พระพุทธเจ้าทำนาย

พระพุทธเจ้าทำนาย


เมื่อปี พ.ศ. 2485 แปลจากศิลาจารึกในมหาวิหารเจตมหาเชตวัน
สาธุ อะระหังสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงเมตตามหาสัพสัตว์ทั่วโลก ที่เกิดมาแล้วแต่ลำบาก ทั่วหน้าทุกชาติ ทุกศาสนาตาม

ธรรมชาติเมื่ออาตมาเข้านิพพานแล้วครบ 5000 ปีเป็นที่สุด โลกจะหมุนเข้าใกล้จำนวนที่ คถาคตทำนายไว้ 2500 ปีมนุษย์

และสัว์จะได้รับภัยพิบัติเสียหนึ่งในระยะ 30 ปี สิ่งที่สาธุชนไม่เคยเจอะจะได้เห็น ไม่เคยพบจะได้พบ ยักษ์หินที่ถูกสาบให้หลับ

กลับตื่นขึ้นมาอาละวาดยิ่งนัก ใกล้กับ พ.ศ. 2550 ยิ่งทวีกันใหญ่ขึ้นทุกทิวาราตรี

มนุษย์นอกศาสนาจะรบราฆ่าฟันกันจนถึงเลือดตนเองนองเต็มพื้นดิน พื้นน้ำจะลุกลามเผามนุษย์ไม่ขาดระยะ ต่างฝ่ายต่างทำลาย เหมือนยักษย์ กระหายเอลืด แผ่นดินจะลุกเปน็นเปลวไฟ ต่างฝ่ายจะตายไปอย่างละครึ่งหนึ่งจึงจะล้มเลิก

ส่วนพุทธศาสนิกชน ผู้ทำแต่บุญเดินตามทางตถาคตสามารถระงับร้อนำม่รุนแรง แต่หนีภัยพิบัติไม่พ้น ไฟจะลุกลามทางทิศตะวันออกไหม้วัดวาอาราม สมณะชีพราหมณ์ จะอดอยากยากเข็ญ ลูกไฟจะตกจากฟ้าเหล็กกล้าจะผุดจากน้ำ สงครามจะเกิดทั่วทิศ ทหารจะเป็นเจ้า ข้าวสารจะขาดแคลน ทุกแคว้น



จะอดอยาก พลูหมากจะหมดเปลือง สีเหลืองจะชนะ สีขาจะแพ้ภัยในที่สุด ครุฑจะบินกลับฐาน คนจะกลับบำรุงพระ



คำเตือน

โลกมนุษย์กำลังเข้าสู่กาลียุค จะทำให้เกืดภัยธรรมชาติ จากดิน น้ำ ลม ไฟ จะเกิดมหาสงครามโลกครั้งที่สามตามมา มนุษย์จะตายไปกว่าครึ่ง

สำหรับประเทศไทย จะเริ่มตั้งแต่ปี 2550 คาดว่าจะได้รับภัยทางน้ำ และ ไฟ โดยเฉพาะจังหวัดที่ติดชายทะเล และกรุงเทพฯ แผ่นดินจะยุบตัวคลื่นน้ำจะพัดเข้าถล่มมีความสูงกว่า 200 เมตรมนุษย์จะล้มตายมากกว่าครึ่ง น้ำจะเข้าช่องแคบสระบุรี และทางด้านตอนล่างของโคราชบางส่วน ภัยพิบัติจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆ สุดท้าย ประเทศไทยจะเหลือประชากรประมาณ 30 %

ส่วนประเทศอื่นทั่วโลกจะเหลือเพียง 10% ประชาชนผู้รอดชีวิตส่วนมากจะสูญเสียสติสัมปชัญญะไม่ปลอดภัยเหมือนเมืองที่นับถือพระพุทธศาสนา เพราะไม่เข้าใจบำเพ็ญฌานภาวนา ฉะนั้นอย่าหลงใหลในทรัพย์สินของตนให้มากนัก เพราะเมื่อเข้าสู่ยุคศิวิไลเงินทอง จะไม่มีค่าเลยเพราะ มนุษย์ยุคนั้นจะเข้าวัดกันที่ความดี ศีลธรรม ปีมะโรง พ.ศ.2555 ปีมะเส็ง พ.ศ. 2556 ปีระกา พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 ปีกุน พ.ศ.2562 คำทำนายของสมเด็จ พุทฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

รัชกาลที่ 1 ทายว่า มหากาฬ (ทำลายเพื่อน พี่น้อง)

รัชกาลที่ 2 ทายว่า ฌาณยักษ์ (ชำนาญเวทมนต์)

รัชกาลที่ 3 ทายว่า รักมิตร (มีการค้ากับต่างชาติมากมาย)

รัชกาลที่ 4 ทายว่า สนิทคำ (ออกบวช)

รัชกาลที่ 5 ทายว่า จำแขนขาด ( เสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง และเขมร เพื่อปกป้อง อธิปไตย)

รัชกาลที่ 6 ทายว่า ราชโจร (เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดกลุ่มโจรมากมาย มีการตั้งกองเสือป่าครั้งแรกของเมืองไทย)

รัชกาลที่ 7 ทายว่า ชนร้อนทุกข์ (เกิดการเดินขบวนเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย)

รัชกาลที่ 8 ทายว่า ยุคทมิฬ (พระเจ้าแผ่นดินถูกลอบปลงพระชนม์)

รัชกาลที่ 9 ทายว่า ถิ่นกาขาว (มีฝรั่งเข้ามามากมาย นำเงินมาซื้อประเทศไทยให้เกิดวิกฤตการเงิน)

รัชกาลที่ 10 ทายว่า ชาวศิวิไลย์ (จะมีเหลือเฉพาะผู้ที่มีบุญเท่านั้นที่รอคอย เป็นยุคของพระศรีอริยเมตไตย)



" โลชังชม โทโพโส อินโกรุณา

พระอิทร์พรหม ยมราช ได้สั่งไว้ว่า ถ้าบุคคลใดได้รู้แล้ว จงรับบอกต่อให้คนอื่นฟังรือพิมแจกตามกำลังศัทธา จะเกิดมหากุศลช่วยให้ท่านหลุดพ้นจากมหันตภัยพิบัติทั้งปวง ถ้าใครไม่มีไว้ในบ้านจะมีภูมิปีศาจเข้ามาทำลายอย่างแน่แท้ ผู้ใดนำเรื่องไปพิมแจก 1000 ใบ ภายใน 15-30 วัน ผู้นั้นจะมีโชคลาภ มีความสุข ความเจริญ คิดสิ่งใดสมปรารถนาทุกประการ และผู้ใดได้รู้ได้อ่าน อย่าคิดว่าเป็นการหลอกลวง หรือไม่เชื่อ และผู้ใดคิดจะพืมแจก ก็ต้องพิมพ์แจกภายใน 15-30 วัน อย่าคิดพิมพ์ผัดวันประกันพรุ่ง หรืออ่านแล้วทิ้ง มันผู้นั้นจะมีเรื่อง และมีภัยพิบัติเกิดขึ้นกับผู้นั้น

2552-10-28

เวบดูหนังฟรี

ใครอยากดูหนังฟรีก็ลองเข้าเวบนี้ได้เลยนะค่ะ

มีหนังให้เลือกดูเยอะแยะเลยละ

http://www.freenung.com/

คำอธิษฐานเสริมดวง

คำอธิษฐานเสริมดวง




คำอธิษฐานเสริมดวง จะช่วยเสริมดวงชะตาของท่านให้สมความปราถนา เป็นสิริมงคลแห่งชีวิต

แต่สิ่งที่สำคัญที่สุด ท่านต้อง คิดดี ทำดี และประพฤติดี ทั้งกาย วาจา และ ใจ ตลอดเวลาและตลอดไป





คำอธิษฐานในการปล่อยปลา ปล่อยเต่า หรือสัตว์น้ำ



ควรจะซื้อสัตว์ที่กำลังจะถูกฆ่า จะดีที่สุด

ก่อนที่จะปล่อยให้เอาน้ำมา 1ถ้วยเทลงไปในถังที่ใส่สัตว์ที่จะปล่อย แล้วตั้งจิตอธิษฐานว่า

ข้าพเจ้า ชื่อ...............นามสกุล...............เกิดวันที่........เดือน......พ. ศ. ..........อายุ ..........ปี ได้ปล่อยสัตว์..........จำนวน..............ตัว

ขอปล่อยท่านทั้งหลายให้เป็นอิสระ ข้าพเจ้าให้ชีวิตแก่ท่าน

ข้าพเจ้า ได้ให้ความเป็นอิสระแก่ท่าน ข้าพเจ้าจะช่วยท่านให้พ้นจากความทุกข์ และความเดือดร้อน ให้พ้นจากการถูกเขาประหาร ขอบุญกุศลที่ข้าพเจ้าทำให้แก่ท่านในครั้งนี้

จงเป็นเครื่องอโหสิแก่กัน อย่าได้ถือโทษโกรธเคืองต่อไป

ขอให้ท่านทั้งหลายเหล่านี้ เมื่อข้าพเจ้าปล่อยท่านเป็นอิสระแล้ว

จงไปบอกพวกของท่านที่ทนทุกข์ทรมานอยู่ ถึงส่วนบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้กระทำนี้

แล้ว ขออุทิศกุศลทั้งหมดที่ทำไปแล้วให้ท่านทั้งหลายเหล่านั้นจงเป็นผู้พ้นทุกข์ จากความเดือดร้อนทั้งปวง และจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด...

ผู้ที่ต้องการกุศลปล่อยสัตว์นั้น ควรพิจารณาด้วยว่าสัตว์นั้นๆ จะมีชีวิตอยู่รอดได้หรือไม่ ในสถานที่ที่ท่านตั้งใจจะนำสัตว์เหล่านั้นไปปล่อย...









คำอธิษฐานปล่อยสัตว์



ข้าพเจ้าชื่อ ...........นามสกุล........เกิดวันที่..........เดือน......พ.ศ. ..........อายุ ..........ปี ได้ปล่อยสัตว์............จำนวน..............ตัว

ปล่อยเพื่อเป็นที่พึ่งแก่ตัวเอง เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ศัตรู และเจ้ากรรมนายเวร

ตัวที่เป็นที่พึ่งขอให้นำความสุขและโชคลาภมาให้ข้าพเจ้า

ตัวที่ให้กับศัตรูและเจ้ากรรมนายเวร

จงนำเอาสัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์เสนียดจัญไร ออกไปจากตัวข้าพเจ้า ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไป

ขอให้แม่พระธรณี พระแม่คงคา เทพเทวา เจ้าที่เจ้าทาง และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย

จงเป็นสักขีพยานรับทราบกุศลเจตนาของข้าพเจ้า

และคุ้มครองชีวิตสัตว์ให้ปลอดภัยจนสิ้นอายุขัย ด้วยอำนาจขอกุศลผลบุญครั้งนี้

จงสะเดาะเคราะห์ร้าย ของข้าพเจ้าให้กลับกลายเป็นดี มีความร่มเย็นเป็นสุข

ประสบความสำเร็จสมหวังในสิ่งที่พึงปรารถนา มีความเจริญก้าวหน้า มีชีวิตสดชื่น สุขสดใส ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปด้วยเทอญ..

ผู้ ที่ต้องการกุศลปล่อยสัตว์นั้น ควรพิจารณาด้วยว่าสัตว์นั้นๆ จะมีชีวิตอยู่รอดได้หรือไม่ในสถานที่ที่ท่านตั้งใจนำสัตว์เหล่านั้นไป ปล่อย...





คำอธิษฐานจบทานเวลาทำบุญ



อิมัง เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ

ขอทานนี้จงเป็นปัจจัย ให้ข้าพเจ้าทั้งหลายได้สิ้นอาสวะกิเลส

อิมัง เม ทานัง นิพพานัสสะ ปัจจะโย โหตุ

ขอทานนี้จงเป็นปัจจัย ให้แก่ข้าพเจ้าได้ถึงพระนิพพานในปัจจุบันชาตินี้

ขอให้ได้มนุษย์สมบัติ ขอให้ได้สรรพสมบัติ

ขอให้ได้นิพพานสมบัติ จะนึกประสงค์สิ่งใด

ขอจงสมความปรารถนาทุกประการ

อันว่าโรคภัยไข้เจ็บความยากจนค้นแค้น และคำว่า ไม่มี ขออย่าให้ข้าพเจ้าได้ประสบเลย..





คำอธิษฐานอโหสิกรรม

ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม กรรมใดที่ทำให้แก่ผู้ใดในชาติใดๆก็ตาม

ขอให้เจ้ากรรมและนายเวร จงอโหสิกรรมให้ข้าพเจ้า อย่าได้จองเวรจองกรรมต่อไปเลย

แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรมให้ทั้งสิ้น

ยก ถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อไป ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานครั้งนี้ ขอให้ข้าพเจ้า ครอบครัว บุตรหลาน ตลอดจนวงศาคณาญาติและผู้อุปการะคุณ ของข้าพเจ้ามีความสุขความเจริญ ปฏิบัติ แต่สิ่งดี และสิ่งที่ชอบด้วยเทอญ..





คำอธิษฐานขอพร

ข้าแต่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิญ เทพยดาเจ้าทั้งหลาย

โปรดเสด็จมาฟังการสวดมนต์ของข้าพเจ้า ขออนุโมทนา และประสิทธิ์ประสาทพรให้ข้าพเจ้า...ด้วยเทอญ

ให้ตั้งนะโม 3 จบ และมนัสการพระรัตนตรัย พร้อมกับตั้งจิตอธิษฐาน..

ขอพระองค์ทั้งหลาย จงประทานพรให้ข้าพเจ้า..พ้นจากสัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์เสนียดจัญไร

จงพ้นจากตัวข้าพเจ้า..ด้วยเทอญ ...สาธุ

(กราบ 3 ครั้ง)



คำขอขมาโทษ

กรรม ชั่วอันใด ที่ข้าพเจ้าได้ทำไว้ ด้วย กาย วาจา ใจ ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คุณบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ เพราะความไม่รู้ เพราะความหลงเพราะความงมงาย เพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขอพรพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และคุณบิดา-มาดา ครูบาอาจารย์ จงยกโทษให้ข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยากลำบากเข็ญใจ ความทุกข์ขออย่าได้ ความไข้ขออย่าให้มี ขอให้มีความสุขสวัสดีมีชัย หายทุกข์ หายโศก หายโรค หายภัย หายอุบาทว์ เสนียดจัญไร อันตรายทั้งหลายจงเสื่อมไป สิ้นไปสูญไปหายไป ข้าพเจ้าจะปรารถนาสิ่งใด ขอให้สมความปรารถนา นิพพายะ ปัจะโย โหตุ (จงตั้งจิต อธิษฐานตามความปรารถนาที่ต้องการตามใจชอบ)

2552-10-19

พระคาถาชินบัญชร

พระคาถาชินบัญชร (ย่อ)



ชินะปัญชนะระ ปะริตตังมัง รักขะตุสัพพะทา หรือ วิญญาณสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา นะโมพุทธายะ (สวด 9 จบ)


คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)


พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา


ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐาน เริ่มสวด นโม 3 จบ


ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง
สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐาวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล
จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ
ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโน อุภาสุง วามโสตะเก
เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนิ ปุงคะโว
กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปาลี นันทะสีวะลี
เถรา ปัญจะอิเมชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ
เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชินโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุต
ตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะ
กัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
ชินา นานา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลัง
กาตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
วะเสโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา

อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ
ชิตูปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ
ชิตันตะวาโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโตจะรามิ ชินะปัญชะเรติ ฯ
(ชินะปัญชะระคาถา นิฏฐิตา)


บทสวดพระคาถาชินบัญชรแบบย้อนกลับ ตั้งนะโมฯสามจบ


จากนั้นขอให้กล่าวคำ อธิฐานจิตดังนี้


ณ กาลบัดนี้ ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อ นามสกุล) ขอพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี เพื่อขอน้อมเกล้าอันเชิญพระคาถาชินบัญชรมาสวดท่องภาวนา ขอมหิธานุภาพจากการสวดท่องพระคาถานี้ จงเป็นเครื่องขจัดทุกข์ ทำให้ลูกเกิดมีปัญญามาก มีวิริยะมากมีความอดทนมาก หมดไปซึ่งความโกรธ ความโลภและความหลง บังเกิดความทรงจำอันยาวนาน และมีความสุข ความเจริญยิ่งๆขึ้นไป

ติ โตลิปา วะภานุ มาธัมสัท มิรามิจะ โยราตะ ตันชิ นะเวภานุ ฆาสัง โคสังริ ตาชิ นะเวภานุ มาธัม โวทะปัท ตุชิ นะเวภานุ นาชิ โขรักสุ โตคุตสุ โตมัน วะเจอิจ ภาสะสาริปุหามะ เตเพสัพ หัง ตุเลนปาทาสะ เลตะหิมะ ตังรันหะวิ หิฌัมมัช ระชะปัญนะชิ เรชะปัญ ธะพุทธสัม ทาสะ นะเจกิจสะ เม โตสะวะ สาชะเตนะชิ ตะนันอะ ตุยัน ยังนะวิ สาเสอา วาทะปัท ตุฌัตรัชหิพา ตาชาสัณทิ ตาปิต ตะวา ตากะลังระกาปา ตะสัต ตายุตสังละพะ นานา นาชิ ตาฐิสัณระกาปา สาเส สิอา นังทะฉะ เสกาอา กังตะสุต ยะฎินา ฎาอา จะตัญริตปะ ระโมธะขัน กังละ มาลิคุอัง เมวา สิอา โตฉะปัจ คังชัคธะ กังตะสุตตะเมต เฌขิทัก สิอา โตระปุ นังตะระ ตาฐิสัณ สุเคมังคะอัง นะเชเตละสี ตาลันชะ สาระโนชิ โตวันตะชิ ราเถหามะ ติสีเตเอ กาวะสานะชิ ตาชิ ราเถหามะ ติสีสาเส มะมะ กาละติ เตลานะ ตาชิเมอิ จะปัญราเถ ลีวะสี ทะนันลีปาอุ จะโลมาลิคุอัง โณปุณ โรกะณาคุ สิฐาติฏปะ จังนิจ เนทะวะ หังมัยโส โกทะวาตะจิต สีเหมะ โรเถ โปสะกัส ระมากุ โวคะปุงนิมุ โตภีโส โนปันสัมริสิ โนสินนิ โรกะภังปะ วะโยริสุ มิงคัสภาฐิปิฎ เตเสนเก เกตะโสมะวา สุงภาอุ โมนาหามะจะ โปสะกัส โลหุราทะนันอา สุงอา หังมัย เนวะสะ เณขิทัก เกมะวาจะ โนลาคัลโมค มิงคัส ภาฐิปิฎ โญฑัญโกณ เณขิทักจะ โตปุตรีสา โธรุทนุอ เม เยทะหะ โรกะณาคุ พะสัพ เรอุ หังมัย โตฐิติฎปะ โฆสัง เนจะโรวิทะ โมธัม โธพุท หังมัย โตฐิติฎปะ เสสี ราสะนิมุ เตเกถะมัต หังมัย ตาฐิติฎปะ เพสัพ กายะนา ติสะวี ฐะอัฎ ธาพุท โยทะรากะหังตัณ ภาสะรานะ สุวิงปิเย สังระ ภาสะ จาสัจตุจะ นังหะวาสะ รังมา วาตะเช ธาพุท ตากะนาสะยาชะ


บทสวดมนต์

กราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

นมัสการ (นะโม)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

ไตรสรณคมน์ (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉาม
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ

พระพุทธคุณ (อิติปิ โส)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

พระธรรมคุณ
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติฯ *
(* อ่านว่า วิญญูฮีติ)

พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี กะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(อ่านออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย โดยสระเอ กึ่งสระไอ)

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
พรัหมัง* วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย
วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ
* พรัหมัง อ่านว่า พรัมมัง

มหาการุณิโก
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง
ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา
ชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก
สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
สุนั ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณัง
กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ
** พรัหมะ อ่านว่า พรัมมะ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

หลังจากสวดมนต์ตั้งแต่ต้นจนจบบทพาหุงมาหากาฯ แล้วก็ให้สวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิติปิโส ให้ได้จำนวนจบเท่ากับอายุของตนเอง แล้วสวดเพิ่มไปอีกหนึ่งจบ ตัวอย่างเช่น ถ้าอายุ ๓๕ ปี ต้องสวด ๓๖ จบ จากนั้นจึงค่อยแผ่เมตตา อุทิศส่วนกุศล

พุทธคุณเท่าอายุเกิน ๑ (อิติปิโสเท่าอายุ+๑)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

บทแผ่เมตตา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กัน และกันเลย
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้ พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

บทอุทิศส่วนกุศล (บทกรวดน้ำ)
อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตา ปิตะโร
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง เม คุรูปัชฌายาจะริยานังโหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจะริยา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

ลำดับการสวดมนต์

“พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาว่า บางคนเขาไปหาหมอดู เคราะห์ร้ายก็ต้องสะเดาะเคราะห์ อาตมาก็มาดูเหตุการณ์โชคลางไม่ดีก็เป็นความจริงของหมอดู อาตมาก็ตั้งตำราขึ้นมาด้วยสติ บอกว่า โยมไปสวดพุทธคุณเท่าอายุให้เกินกว่า ๑ ให้ได้ เพื่อให้สติดี แล้วสวด “พาหุงมหากาฯ” หายเลย สติก็ดีขึ้น เท่าที่ใช้ได้ผล สวดตั้งแต่ นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ จบแล้วย้อนกลับมาข้างต้น เอาพุทธคุณห้องเดียว (อิติปิโส ภะคะวา จนถึง พุทโธ ภะคะวาติ) ห้องละ ๑ จบ ต่อ ๑ อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ได้ผล”

ตั้งนะโม ๓ จบ
สวดพุทธัง ธัมมัง สังฆัง
สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ
สวดพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
สวดมหาการุณิโก
สวดพุทธคุณ อย่างเดียวเท่ากับอายุ บวก ๑
เช่น อายุ ๒๘ ปี ให้สวด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ปี ให้สวด ๕๕ จบ เป็นต้น
แผ่เมตตา
อุทิศส่วนกุศ

วิธีสวดมนต์ให้ได้อานิสงส์สูงสุด

1.อย่าสักแต่ว่าสวดเป็นนกแก้วนกขุนทอง คือท่องๆ บ่อยๆ ไปตามอักขระที่อ่านหรือนึกได้ ข้อนี้ไม่ได้หมายความว่าต้องให้รู้ความหมายด้วย ไม่จำเป็นขนาดนั้น เพราะการรู้ความหมาย เป็นเพียงส่วนเสริมเท่านั้น (แต่ถ้ารู้ความหมายด้วย ก็เป็นเรื่องดี) จะรู้ความหมายหรือไม่รู้ความหมายก็ไม่สำคัญเท่ากับการสวดมนต์อย่างมีสมาธิ




2.ต้องสวดมนต์อย่างมีสมาธิ หมายความว่า เวลาที่จะสวดมนต์นั้น ต้องรู้ก่อนว่าสวดมนต์บทไหน (จะรู้ความหมายหรือไม่รู้ก็ได้) แต่เวลาที่สวดมนต์นั้น ให้รู้ว่าอักขระหรือตัวหนังสือที่เรากำลังจะท่องนั้น คือตัวอะไร ฟังดูอาจจะเข้าใจยาก เอาอย่างนี้ เวลาที่จะสวดมนต์ เช่น นะโม ตัสสะ ฯลฯ ก็ต้องรู้ว่าตอนนี้กำลังสวดคำว่า นะ คำว่า โม คำว่า ตัส คำว่า สะ คือให้รู้ตัวทุกตัวอักขระว่ากำลังสวดคำไหน ทำได้มั้ยครับ ถ้าทำได้..คือรู้ตัวว่าสวดอักขระตัวไหน เราก็จะมีสติใจจดจ่อกับคำสวดตามอักขระ เมื่อมีสติเราก็จะมีสมาธิ การมีสติ และมีสมาธิในเวลาสวดมนต์นั้น จะได้รับ " พลังงาน " ที่ดี



ทำให้ได้ แล้วจะได้รู้ว่า สวดมนต์เวลาที่มีสติและสมาธิ จะ " ดีกว่า " สวดมนต์แบบนกแก้วนกขุนทองอย่างมากมายมหาศาล จะท่องโดยไม่ต้องดูตัวหนังสือก็ได้ แต่อย่าขี้เกียจ หมั่นท่องจำไว้ให้ได้ก็ดี อย่านึกว่ามีหนังสือ มีตำรา แล้วเอาแต่เปิดหนังสือ เปิดตำราท่อง แรกๆ ก็เปิดได้ เพราะคนไม่เคยท่องจะให้จำได้อย่างไร แต่ถ้านานๆ ไป ควรท่องจำเองโดยไม่ต้องเปิดหนังสือหรือตำรา เพราะการท่องด้วยจิตใจที่จดจ่อกับคำที่เราท่อง สิ่งที่เราได้ก็คือ จิตจะมีสมาธิ

การสวดมนต์ก็คือการปฏิบัติสมาธิอย่างหนึ่งเช่นกัน